Hierarchy Of Controls Safety Examples

ยุทธศาสตร์ความปลอดภัยสำหรับเครื่องจักร (Machine Safety Strategy) (ตอนจบ) ศิริพร วันฟั่น safetyhubs admin ดูแลเว็บไซต์และเฟสบุคเพจ safetyhubs ติดต่องาน ครับ Continue Reading

แม็คโคร รับซื้อกุ้ง 200 ตันอุ้มเกษตรกรสู้โควิดรอบใหม่

  1. Notebook ล่าสุด 2013 relatif
  2. แบ ท วู แมน
  3. ลํา พูน เพลส ขอนแก่น จำกัด
  4. Assassination classroom ซับไทย
  5. บริษัท อะตอม จำกัด
  6. ยา isdn ราคา
  7. Vivo 4g ราคา lite
  8. โหลด battle realm reborn
  9. ▷ รถกระบะมือสองราคาไม่เกินสี่แสน

การลดความเสี่ยง (Risk Reduction) ▪ ขจัดอันตรายหรือป้องกันความเสี่ยง (Eliminate the hazard or Prevent the risk) ▪ หามาตรการควบคุม (Control Measures) 3. การพิจารณาเลือกใช้มาตรการควบคุมที่เหมาะสม (Deciding on Control Measures) 4. การนำมาตรการควบคุมไปปฏิบัติ (Implementing Control Measures) 5. การติดตามและทบทวนประสิทธิผลของมาตรการควบคุม (Monitoring and Reviewing Effectiveness of Control Measures) 6.

งาน ภูมิ ทัศน์ ราชการ word

เผยแพร่เมื่อ: 02/06/2563...., เขียนโดย คุณ ชลาธิป อินทรมารุต, Meet the Professional: Construction Safety Series..., HSSE Manager บริษัทเอกชน งานบริหารโครงการก่อสร้าง "เปลี่ยนรายจ่ายด้านความปลอดภัย ให้เป็นผลกำไร " #ตอนที่1 - ใช้หลัก Hierarchy Control ช่วยให้งานเสร็จไว ปลอดภัย และเหลือเงินในกระเป๋ามากยิ่งขึ้น มีใครเคยสังเกตุไหมครับ ว่าทำไม? บริษัทที่เขามีระบบความปลอดภัยที่ดี นอกจากไม่ค่อยมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นแล้ว บริษัทยังเติบโตขยายธุรกิจได้รวดเร็ว มีงานล้นมือ มีลูกค้าเข้ามาอย่างต่อเนื่อง เจ้าของก็รวยขึ้น และพนักงานได้เงิน ได้โบนัสกันทุกปี แต่ทำไม? บริษัทที่ไม่ให้ความสำคัญด้านความปลอดภัยในการทำงาน นอกจากจะมีคนเจ็บคนตายอยู่บ่อยๆแล้ว บริษัทเหล่านี้มักจะล่มสลายภายในเวลา 3-5ปี เรียกได้ว่า ยิ่งประหยัด ยิ่งขาดทุน!! เขาทำอะไรผิด??? ถ้าคุณอ่านถึงบรรทัดนี้ คุณโชคดี แต่ถ้าคุณอ่านจนจบ อาจทำให้ผลประกอบการในองค์กรของคุณเปลี่ยนไป เพราะผมจะเอาความลับของหลายๆ บริษัท ที่เขาไม่เคยบอกว่าเขา "ทำเซฟตี้อย่างไรจึงเปลี่ยนรายจ่ายให้เป็นผลกำไร" มาบอกทุกท่าน อันดับแรกให้คุณทบทวนรายจ่ายส่วนใหญ่ในรอบ 3ปี ว่า 3อันดับแรก (สูงสุด) ในงานความปลอดภัย คืออะไร แล้วพิจารณาตามนี้ 1.

Elimination: (การกำจัดความเสี่ยงออกไป) 1. 1 ผมเคย ยกเลิกการปีนขึ้นไปบนถังน้ำมัน แล้วออกแบบให้ทุกอย่างติดตั้งมาจากโรงงานผู้ผลิต แล้วมีเกจที่สามารถอ่านค่าจากด้านล่าง โดยที่คนไม่จำเป็นต้องปีนขึ้นไปทำอะไรบนหลังถังน้ำมันอีก ลดงานที่สูงลงได้ 100% 1. 2 ผมลอง ยกเลิกงานเชื่อมโลหะที่ก่อให้เกิดอันตรายจากความร้อนและฟูมโลหะ แล้วใช้วิธีการขันยึดด้วยน๊อตแทน ลดงานเชื่อม 100% คุณภาพงานดีขึ้น งานเสร็จไวขึ้น 4-5เท่า (เมื่อเปรียบเทียบเวลาการขันด้วยน๊อตกับการเชื่อม) 1. 3 ผมใช้ โครงสร้างสำเร็จรูป (Pre Fab/Modular) ยกมาประกอบ/วาง ลดความเสี่ยง ลดเวลา ประหยัดเงิน ผลที่ได้ คือ งานเสร็จไวขึ้น ไม่มีอุบัติเหตุจากงานเชื่อม ลดโอกาสตกจากที่สูง และอุบัติเหตุจากเครน ประหยัดค่าแรงคน ประหยัดค่าเช่านั่งร้าน เครนและอุปกรณ์อื่นๆ งานเสร็จไวขึ้น 1-2สัปดาห์ แบบนี้ไม่ต้องบอกก็รู้ว่า เงินในกระเป๋าเถ้าแก่/เจ้าของบริษัท จะเหลือมากขึ้นแค่ไหน (ขอกระซิบเบาๆ ว่าในบางโครงการ เงินเหลือมากขึ้น 6หลักเป็นอย่างน้อย!!! ) 2. Substitution (การแทนที่): เปลี่ยนหลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ เป็น LED อายุการใช้งานยาวนานขึ้น 5เท่า ลดการทำงานบนที่สูง และการทำงานกับกระแสไฟฟ้าลง 5เท่า ค่าไฟจ่ายถูกลง 50% บางคนอาจคิดว่าจะประหยัดสักเท่าไรกับแค่ดารเปลี่ยนหลอดไฟ แต่คุณเคยนับไหมครับ ว่าในโรงงานของคุณมีหลอดไฟกี่ดวง!!!

ควบคุมอันตรายและความเสี่ยงอย่างไรให้ได้ผล | SAFETYHUBS.COM

ลองคิดถึงค่าจ้างคนและอุปกรณ์เปลี่ยนหลอดไฟจากปีล่ะครั้ง เป็น 5ปี/ครั้ง ก็ไม่รู้จะบอกว่าคุ้ม และปลอดภัยขึ้นมากแค่ไหน! ไม่ใช่แค่หลอดไฟนะครับ ในไซต์ก่อสร้าง หรือโรงงานของคุณ ยังมีวัสดุอุปกรณ์อีกมาก ที่สามารถเปลี่ยนแล้ว ลอดภัยมากขึ้น หรือการนำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาทำงานแทนคน ที่นอกจากจะปลอดภัยมากขึ้นแล้ว ยังช่วยให้รายจ่ายลดลง งานเสร็จไวขึ้น คุณภาพดีขึ้น!!! 3.

วิธีการที่คุณใช้อยู่ มันช่วยแก้ปัญหาได้จริงๆ หรือไม่ เช่น ถ้าคุณจ่ายเงินมหาศาลไปกับคน เช่น การฝึกอบรมคน และอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล (PPE) แต่การบาดเจ็บไม่เคยลดลง คุณอาจต้องใช้อย่างอื่นแทนคน หรือตัดบางขั้นตอนที่มีความเสี่ยงสูงออก แล้วเปลี่ยนวิธีการทำงาน หรือใช้วัสดุสำเร็จรูปทดแทน 2.

คำตอบทั้งหมดข้างต้น คือ สิ่งที่ได้ยินเสมอ โดยเฉพาะจากคนงานที่ทำงานอยู่หน้างาน... แต่ก็มีเหมือนกัน ที่เมื่อถามระดับเจ้าของกิจการ ผู้จัดการ หรือหัวหน้างานผู้รับเหมารายย่อย SME หลายคน ก็ตอบว่า.. "ความปลอดภัย" คือ การสวมใส่อุปกรณ์เซฟตี้ (PPE). ถามว่า ผิดไหม.. ที่จะเข้าใจอย่างนั้น คำตอบ คือ ไม่ผิด…แต่ไม่ถูกต้องทั้งหมดครับ. แล้วถ้าถามต่อว่า… ทำยังไงล่ะ จึงจะทำให้คนงานปลอดภัย ทำยังไง เราจะควบคุมอันตรายและความเสี่ยงได้ล่ะ.. บทความนี้เลยหยิบเอา หลักการการควบคุมอันตรายและความเสี่ยงมาแชร์ มาทบทวนกัน.. _____ หัวใจของการควบคุมอันตรายและความเสี่ยงคือ เราต้องบอกให้ได้ว่า ในสถานประกอบกิจการ ในโรงงาน ในบริษัทของเรา อะไรคือความเสี่ยง อะไรคือสิ่งที่จะทำให้เกิดอันตราย เกิดอุบัติเหตุ ในที่ทำงาน……. Top 3 hazard/risk ในที่ทำงานของเรา.. คืออะไร? ลองหยุดอ่าน และหันไปถามเพื่อนพนักงานสักคนดูครับ…ว่าตอบเหมือนกันมั้ยย?.... การจะได้คำตอบนี้ สิ่งที่เราต้องทำ ก็คือ HIRA (Hazard Identification and Risk Assessement) การชี้บ่งและประเมินความเสี่ยง นั่นเอง #### #ทบทวน ##### หลักบริหารจัดการความเสี่ยง Risk Management 1. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) ▪ การวิเคราะห์ความเสี่ยง (Risk Analysis) ▪ ชี้บ่งอันตราย (Hazard Identification) ▪ ประมาณความเสี่ยง (Risk Estimation) ▪ ประเมินค่าความเสี่ยง (Risk Evaluation) 2.

  1. Nidec สมัคร งาน
  2. ไอ เอ ส 5 million
  3. Kulov vodka ผสม
  4. แคะหินปูนเอง
  5. บ้าน สไตล์ ญี่ปุ่น ราคา
  6. รายการ ของ got7 fandom
  7. กระดาษ ทิช ชู่ ไร้ แกน แม่สาย เชียงราย
  8. วัง เดียวดาย รีวิว