สาน กระดาษ ลาย ดอก

ตะกร้าหวายลายพิกุล จ.
  1. ตะกร้าหวายลายพิกุล | souvenir
  2. ตะกร้าสี่เหลี่ยมสอดลายพิกุล | souvenir

ตะกร้าหวายลายพิกุล | souvenir

การเข้าแบบหรือเข้ารอง คือการนำแบบหรือรองที่เตรียมไว้มาใส่ก้นตะกร้าที่เตรียมไว้ แล้วสานตามแบบ และจะมีเส้นหลักเรียกว่าดิ้ว เพื่อจะใช้หวายที่เตรียมไว้สานเป็นลาย 4. การสาน คือ ขั้นตอนที่ต้องใช้ความละเอียดมากที่สุด สานตามลายที่ต้องการ โดยจะมี เส้นตอกสองชนิด คือ ตอกยืน (ตอกตั้งหรือดิ้ว) และตอกนอน (ตอกสาน) 5. การสาน หรือเม้นปาก คือ ขั้นตอนที่สานเป็นลายจนได้ตะกร้าตามต้องการ แล้วพับดิ้ว ที่เหลือลงมาและถักปากเพื่อเก็บความเรียบร้อย 6. ใส่ขอบ คือ ขั้นตอนที่ถักปากเสร็จเรียบร้อยแล้ว นำหวายเป็นต้นขนาดเดียวกับที่ดีดก้น มาโค้งทำเป็นของปากกระเป๋า แล้วถักเป็นลายปลาช่อน 7. เตรียมหู ใส่หู คือ การนำหวายเป็นต้นมาดัด แล้วโค้งเพื่อจะทำเป็นหู และใช้หวาย ที่เป็นผิวของหวาย ขนาดตามที่เตรียมไว้มาถักรอบหู เป็นลายปลาช่อน ให้สวยงาม 8. ทาน้ำมันชักเงา คือ การนำน้ำมันมาทาตะกร้าที่สานเสร็จแล้ว เพื่อให้ตะกร้าแข็งแรง ไม่ขึ้นรา มีความทนทาน 9. บุผ้าไหมด้านใน คือ ขั้นตอนที่นำตะกร้าที่สานเสร็จแล้วไปบุผ้าไหมรองภายในตะกร้า และจับจีบปากตะกร้า ให้เกิดความสวยงาม และเพิ่มมูลค่าของตะกร้าให้สูงขึ้นเหมาะสมในการใช้สอย ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มตะกร้าหวายลายพิกุล เป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากงานฝีมือจักสานที่ใช้ กรรมวิธีในการผลิตแบบโบราณ โดยใช้ช่างฝีมือพื้นบ้านโดยแท้ ต้องใช้เวลาและความชำนาญในการผลิต ผลิตภัณฑ์แต่ละชิ้นจึงมีความละเอียดอ่อน ประณีต สวยงาม มีรูปแบบที่ทันสมัย และมีคุณภาพ ทำให้ เป็นที่ต้องการของตลาด

  • สีลิปสำหรับคนผิวคล้ำ เลือกยังไง? ให้เหมาะกับตัวเอง มาดูกัน!
  • ผลิตภัณฑ์บำรุงผิวกาย | บริษัท เอส.พี.วาย. คอสเมติก จำกัด รับผลิตครีม
  • โหลด เกม halo
  • Visa mastercard ต่าง account
  • 3 Styles Hot Cocoa 3 สูตร วิธีชง #โกโก้ร้อน อร่อยๆค่ะ | ข้อมูลสูตร โกโก้ ร้อนที่ละเอียดที่สุดทั้งหมด
  • หน้าต่าง แบบ ไหน ดี
  • Does whatsapp use mobile number
  • ยา ทา fordyce spots
  • จักสานลายดอกพิกุล
  • พูดคุยเรื่องการตลาดออนไลน์ และโซเชียลมีเดีย - เว็บบอร์ด - board.postjung.com
  • แต่ง รถ isuzu dmax
  • รีวิว แปรงสีฟัน foreo fofo
สานกระดาษ ลายดอกไม้

ตะกร้าสี่เหลี่ยมสอดลายพิกุล | souvenir

ขั้นที่ 1. วัดตอกให้ได้ครึ่งขนาดของแก้ว ขั้นที่ 2. ฉีดตอกให้ออกเป็นเส้นๆ ขั้นที่ 3. เอาเทปใสแปะฟิวเจอร์บอร์ด นำตอกที่ฉีกเป็นเส้นมาติดเทปใสเรียงกันเป็นแนวยาวพอเหมาะกับขนาดแก้ว ขั้นที่ 4. นำตอกที่ติดอยู่กับเทปกาว เมื่อติดพอประมาณของขนาดแก้วแล้วก็นำมาติดรอบตัวแก้ว ขั้นที่ 5. นำตอกมาขึ้นลาย ( ลายสาม) โดยถักไปยกสาม ทับสาม แล้วสานเป็นลายขึ้นไปเรื่อย ขั้นที่ 6. เก็บมุมของลาย โดยจะถักสลับกัน 2 เส้น ขั้นที่ 7. ใช้กาวทาขอบลาย รอให้แห้ง ขั้นที่ 8. ตัดส่วนที่เหลือตัดทิ้ง ขั้นที่ 9. จักสานคลอบแก้ว (ลายสาม) ดังรูป

ราย ได้ หลาย ทาง

ฝึกสอนให้แก่เยาวชนในท้องถิ่น และผู้สนใจ ได้เรียนรู้และฝึกหัดการจักสาน ผลิตภัณฑ์ เพื่อร่วมกันอนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญาด้านการจักสาน ให้คงไว้สืบต่อไป ไม่สูญหาย 2. สร้างรายได้ให้แก่ชุมชน จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์เครื่องจักสาน 3. ผลิตภัณฑ์เครื่องจักสานของกลุ่มจักสานตะกร้าหวายลายพิกุล เป็นเอกลักษณ์ ในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ให้บุคคลทั่วไป รู้จักงานฝีมือจักสานของบ้านกระทุ่ม ตำบลหัวเวียง อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วัสดุ/อุปกรณ์ที่ใช้ 1. ต้นหวาย 2. เหล็กหมาด 3. กรรไกรตัดเล็บ 4. มีดจักตอก 5. ดินสอ 6. คีม 7. เรียด 8. รองหรือแบบขึ้นรูปตะกร้า 9. ตะปูทองเหลือง 10. ค้อน 11. มีดเล็ก 12. น้ำ 13. ผ้าไหม ขั้นเตรียมการ 1. เตรียมต้นหวาย นำมาจัก หรือผ่าหวาย ตามขนาดที่ต้องการ แล้วนำหวายไปชัดเรียด ให้ได้ขนาดของเส้นหวาย ขนาดใหญ่/แบน/กลม/แบนเล็ก/แบนใหญ่ 2. เตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ ได้แก่ เหล็กหมาด กรรไกรตัดเล็บ มีด คีม ตะปู น้ำ ฯลฯ ขั้นตอนการผลิต 1. ตัดก้น คือ ขั้นตอนการนำหวายทั้งต้นมาโค้งตามแบบที่ต้องการจะทำ 2. ขึ้นตะกร้า (จะใช้ลายขัด) คือการนำหวายที่เตรียมไว้มาสานเป็นลายขัด กับหวาย ที่ตัดก้นไว้ และจะมีหวายที่เป็นเส้นยืนหรือเส้นตั้ง หรือดิ้ว 3.

ตะกร้าสี่เหลี่ยมสอดลายพิกุล ไม้ไผ่ เป็นพืชพื้นถิ่นที่มีอยู่มากในพื้นที่ตำบลลิ่นถิ่น อำเภอทองผาภูมิ ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นของชนชาติไทยที่มักนำวัสดุในท้องถิ่นมาใช้เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ซึ่งเป็นการประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อใช้ในการดำรงชีวิตเพียงเท่านั้น ต่อมาเมื่อสภาพของสังคมเปลี่ยนแปลงไปภูมิปัญญาของการจักสานเริ่มหายไปตามกาลเวลา ในปี พ. ศ.

1. เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ให้พร้อม นำไม้ไผ่นวลไปขูดผิว แล้วนำไปต้มในภาชนะขนาดยาวพอสำหรับบรรจุไม้ไผ่ได้เผาด้วนเศษไม้ที่มีในพื้นที่ ประมาณ 30 นาที ให้พอสุกสม่ำเสมอ 2. นำไม้ที่ต้มแล้วมาตากแดดให้แห้งสนิท (ประมาณ 3 วัน) 3. นำไม้ที่แห้งแล้วมาจักเป็นเส้นตอกเล็ก ๆ ขนาดแผ่นละ 1 ซม. โดยแบ่งเป็น ส่วนผิว และ ส่วนเนื้อไม้ - ส่วนผิว สำหรับทำลายภายนอก - ส่วนเนื้อไม้ สำหรับทำลายส่วนภายใน เรียกว่า " ซับใน" 4. นำเส้น ตอกส่วนผิว มาแบ่งเป็นเส้นเล็ก ๆ ประมาณ 0. 8 มิลลิเมตร และนำมา "ชักเลียด" กับแผ่นเหล็กชักเลียดตอก เพื่อต้องการให้ตอกมีความเสมอกันทุกเส้น 5. นำเส้นตอกที่ชักเลียดเสร็จแล้วไปย้อมสีตามความต้องการของลูกค้า 6. เริ่มการจักสานในส่วนผิว เป็นลายชลอม ตามหุ่นที่กำหนด 7. นำตอกที่ย้อมสีมา "ยอนดอกเป็นลายพิกุล" (การยอนดอกทำ 6 ครั้ง ถึงจะขึ้นเป็นรูปลายดอกพิกุล) 8. นำตอก ส่วนเนื้อไม้ ที่จักไว้มาแบ่งเป็นเส้นๆละประมาณ 2 – 3 มิลลิเมตร สำหรับจักสาน ลายสอง ใช้เป็นแผ่นซับใน 9. นำแผ่นซับในมาแปะทับด้านใน แผ่นยอนดอกลายพิกุลซึ่งจักสานเสร็จเรียบร้อยแล้ว 10. นำแผ่นดังกล่าวมาประกอบตามรูปหุ่นที่กำหนด โดยมีรูปแบบตามความต้องการของลูกค้า เช่น ทรงกลม, ทรงเหลี่ยม (สี่เหลี่ยม หกเหลี่ยม ฯ), ทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า หรือทรงรูปไข่ ฯลฯ 11.