อาหาร ประจำ ภาค เหนือ: อาหารประจำภาค เหนือ | อาหารไทย 4 ภาค

นำพริกแห้งที่แกะเม็ดออกแล้วมาหั่นฝอย แช่น้ำจนนิ่ม บีบน้ำออกแล้วนำไปโขลกกับเกลือจนละเอียด 2. ใส่ตะไคร้ ขมิ้น กระเทียม หอมแดง กะปิ โขลกจนส่วนผสมละเอียด ตักขึ้น พักไว้ ส่วนผสม แกงโฮะ เนื้ออกไก่หั่นชิ้นบาง 150 กรัม หมูสามชั้นหั่นชิ้นบาง 200 กรัม มะเขือเปราะผ่าสี่ 100 กรัม หน่อไม้ดอง 200 กรัม มะเขือพวง 50 กรัม วุ้นเส้นแช่น้ำจนนิ่มหั่นท่อน 150 กรัม ถั่วฝักยาวหั่นท่อน 100 กรัม ยอดใบตำลึงเด็ด 100 กรัม ผักชีหั่นท่อน 3 ช้อนโต๊ะ ต้นหอมหั่นท่อน 3 ช้อนโต๊ะ ผักชีฝรั่งหั่นท่อน 3 ช้อนโต๊ะ พริกขี้หนูแดงบุบ 5 เม็ด น้ำปลา 2-3 ช้อนโต๊ะ น้ำมันสำหรับผัด 1/2 ถ้วยตวง วิธีทำ แกงโฮะ 1. ตวงน้ำมันใส่กระทะตั้งไฟ พอน้ำมันร้อนใส่เครื่องแกงที่โขลกไว้ลงผัดจนมีกลิ่นหอม 2. ใส่เนื้อหมู เนื้อไก่ ผัดจนสุก ใส่หน่อไม้ดอง ตามด้วยวุ้นเส้น เติมน้ำเล็กน้อย 3. ใส่มะเขือเปราะ มะเขือพวง ถั่วฝักยาว ผัดจนสุก ปรุงรสด้วยน้ำปลา ใส่ตำลึง ผักชีฝรั่ง ผักชี ต้นหอม และพริกขี้หนู ผัดให้เข้ากัน ปิดไฟ ตักใส่ภาชนะ พร้อมรับประทาน
  1. อาหารภาคเหนือ – Thai food
  2. อาหารประจําภาค เหนือ
  3. อาหารประจำภาคเหนือ | smilelovelove
  4. Noo-Pond: อาหารประจำภาคเหนือ
  5. อาหารประจำภาค
  6. "อาหารพื้นเมืองทางภาคเหนือ"
  7. อาหารประจำภาค เหนือ | อาหารไทย 4 ภาค

อาหารภาคเหนือ – Thai food

  • เดอะซี้ด รัชดา-ห้วยขวาง
  • รีวิว Volk Golf Mk6 รถยุโรปคันจิ๋ว ในราคาขี้ปะติ๋ว - YouTube
  • อาหารประจําภาค เหนือ
  • อาหารประจำภาค
  • Grumpy cat ราคา meme

อาหารประจําภาค เหนือ

อาหารประจำภาคเหนือ | smilelovelove

ซม. ยาว 7-8 ซม.

Noo-Pond: อาหารประจำภาคเหนือ

แคบหมู คือ แคบหมู เป็นอาหารขึ้นชื่อของชาวล้านนา ใช้รับประทานร่วมกับอาหารอื่นๆ เช่น น้ำพริก ขนมจีนน้ำเงี้ยว ใช้เป็นส่วนผสมในการตำน้ำพริก หรือแกง เช่น แกงบอน แกงผักตำลึง (แกงผักแคบ) แกงหน่อไม้ แคบหมูมีทั้งชนิดติดมัน และไม่ติดมัน ที่เรียกกันว่า แคบหมูไร้มัน ชาวล้านนาดั้งเดิม นิยมรับประทานแคบหมูเป็นอาหาร มากกว่าเป็นเครื่องแนม 5. แกงขนุน คือ แกงขนุน หรือ แกงบ่าหนุน ถือว่าเป็นแกงที่มีชื่อเป็นมงคล บางท่านนิยมแกงกินในงานแต่งงาน เพื่อเป็นเคล็ดว่าให้คู่แต่งงานนั้นมีความเกื้อหนุนจุนเจือต่อกัน และในวันปากปี คือหลังวันเถลิงศก (วันพญาวัน) หนึ่งวัน บางแห่งนิยมใส่ข่า ตะไคร้ทุบ และอาจมีจักข่าน (สะค้าน) บ่าแขว่น (ผลกำจัด) โขลกใส่ลงไปในแกงด้วย 6. แกงอ่อม คือ เป็นแกงประเภทที่ใช้เนื้อสัตว์เป็นส่วนผสมหลัก เช่น ปลา เนื้อวัว เนื้อควาย เนื้อไก่ นอกจากเนื้อแล้ว นิยมใส่เครื่องในสัตว์เป็นส่วนผสมด้วย เรียกชื่อตามส่วนผสมหลัก ได้แก่ แกงอ่อมไก่ แกงอ่อมปลา แกงอ่อมเนื้อ (แกงอ่อมจิ๊นงัว แกงอ่อมจิ๊นควาย) แกงอ่อมหมู (แกงอ่อมจิ๊นหมู) บางก็แกงอ่อมเฉพาะเครื่องใน เช่น แกงอ่อมเครื่องในวัว แกงอ่อมเครื่องในควาย 7. แกงฮังเลหมู คือ แกงฮังเลมี 2 ชนิด คือ แกงฮังเลม่าน และ แกงฮังเลเชียงแสน เชื่อกันว่าเป็นอาหารที่ได้รับอิทธิพลมาจากพม่า สำหรับแกงฮังเลเชียงแสนจะแตกต่างตรงที่มีถั่วฝักยาว มะเขือยาว พริกสด หน่อไม้ดอง งาขาวคั่ว เพิ่มเข้ามา และใช้เป็นส่วนผสมของแกงโฮะ 8.

อาหารประจำภาค

แอ็บปลา คืออาหารที่ปรุงด้วยการนำปลาสด เช่น ปลาช่อน ปลาดุก มาคลุกเคล้ากับเครื่องปรุง แล้วห่อด้วยใบตอง เช่นเดียวกับแอ็บอ่องออ แอ็บกุ้ง แล้วนำไปปิ้งหรือย่าง ด้วยไฟอ่อนๆ จนข้างในสุก

"อาหารพื้นเมืองทางภาคเหนือ"

นำปลาช่อนมาล้างให้สะอาด 2. โขลกพริกกับเกลือให้ละเอียด ใส่หอมแดง กระเทียม โขลกให้ละเอียดอีกครั้ง 3.

อาหารประจำภาค เหนือ | อาหารไทย 4 ภาค

อาหารประจำภาคเหนือ เขียนโดย sanva วันอังคารที่ 12 มกราคม พ. ศ.

อาหารภาคเหนือ ส่วนใหญ่รสชาติไม่จัด ไม่นิยมใส่น้ำตาลในอาหารความหวาน จะได้จากส่วนผสมของอาหารนั้นๆ เช่น ผัก ปลา และนิยมใช้ถั่วเน่าในการปรุงอาหาร คนเหนือมีน้ำพริกรับประทานหลายชนิด อาทิ น้ำพริกหนุ่ม น้ำพริกอ่องผักที่ใช้จิ้ม ส่วนมากเป็นผักนึ่ง ส่วนอาหารที่รู้จักกันดีได้แก่ ขนมจีนน้ำเงี้ยว ที่มีเครื่องปรุงสำคัญขาดไม่ได้ คือ ดอกงิ้ว ซึ่งเป็นดอกนุ่มที่ตากแห้ง ถือเป็นเครื่องเทศพื้นบ้านที่มีกลิ่นหอม หรืออย่าง ตำขนุน แกงขนุน ที่มีส่วนผสมเป็นผักชนิดอื่น เช่น ใบชะพลู ชะอม และมะเขือส้ม

ไส้อั่ว คำว่า อั่ว หมายถึง แทรก หรือยัดไว้ตรงกลาง ไส้อั่ว จึงหมายถึงไส้ที่มีการนำสิ่งของยัดไว้ การทำไส้อั่ว นิยมใช้ไส้หมูและเนื้อหมู การทำไส้อั่ว เป็นวิธีการถนอมอาหาร ให้สามารถรับประทานได้นานขึ้น คือประมาณ 1-2 วัน แต่ถ้าเก็บไว้ในที่เย็น หรือปัจจุบัน มีการบรรจุถุงแบบสูญญากาศ ก็เก็บไว้ได้นานมากยิ่งขึ้น การทำให้ไส้อั่วสุก จะใช้วิธีปิ้ง หรือทอดก็ได้ 2. น้ำพริกหนุ่ม คือ พริกหนุ่ม คือพริกสดที่ยังไม่แก่จัด น้ำพริกหนุ่ม เป็นน้ำพริกที่มีลักษณะข้น เป็นอาหารพื้นบ้านล้านนาที่รู้จักกันทั่วไป มีจำหน่ายแพร่หลายแก่นักท่องเที่ยว นิยมซื้อเป็นของฝาก รับประทานกับแคบหมู บางสูตรใส่ปลาร้าสับ และกะปิห่อใบตองย่างไฟ บางสูตรใส่น้ำปลากับเกลือ แล้วแต่ชอบ 3. น้ำพริกอ่อง นับเป็นน้ำพริกพื้นบ้านล้านนาที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายพอๆ กับน้ำพริกหนุ่ม ลักษณะเด่นของน้ำพริกอ่อง คือมีสีส้มของสีมะเขือเทศและพริกแห้ง ที่เคี่ยวจนเป็นน้ำขลุกขลิก มีน้ำมันลอยหน้าเล็กน้อย มีสามรส คือ เปรี้ยว เค็ม เผ็ด เล็กน้อย และรสหวานตาม นิยมรับประทานกับผักสดหรือผักต้มก็ได้ บางสูตร ผัดหมูก่อนแล้ว จึงตามด้วยเครื่องปรุงและมะเขือเทศภายหลัง บางสูตร โขลกเนื้อหมู เครื่องปรุงและมะเขือเทศให้เข้ากันก่อน จึงนำไปผัดกับน้ำมันพืช บางสูตร ใส่ถั่วเน่าแข็บหรือใส่เต้าเจี้ยว ในการปรุงรส 4.

น้ำปู๋? )

  1. แก้ ปัญหา หน้าผาก กว้าง x ยาว
  2. Www sso go th ลงทะเบียน มาตรา 40
  3. Sgs แล ประเทศไทย
  4. เหล็ก มือ สอง สระบุรี จองวัคซีน
  5. ราคา โทรศัพท์ samsung s20 tablet
  6. ตาราง บอล 888 casino
  7. ดู หนัง jigsaw.w3
  8. Vit c น้อง ฉัตร วัต สัน
  9. ตรวจหวย 1 กันยายน
  10. รพ ผา หมอก คาเฟ่
  11. โหลด adobe lightroom free
  12. หมูยอ แผ่น แม็คโคร