เครื่องดนตรี ไทย พิณ, พิณ - ดนตรีไทย

โหวด เป็นเครื่องเป่าไม่มีลิ้น จัดอยู่ในประเภทขลุ่ยแต่โหวดไม่มีรูพับจะมีเสียงลดหลั่นกันตามลักษณะของเสียงดนตรี โหวดประกอบด้วยส่วนสำคัญ 3 ส่วนคือ ลูกโหวดไม้แกน และขี้สูดลูกโหวดทำจากไม้ซางที่ชาวอีสานเรียกว่าไม้เฮี้ยหรือไม้กู่แกนนำมาตัดให้ได้ขนาดลดหลั่นกันเป็นท่อตามโครงสร้างของเสียงแล้วมาเรียงตัดไว้กับแกนไม้ไผ่โดยใช้ขี้สูดเป็นกาวเชื่อมตัดกันไว้ขี้สูดส่วนหนึ่งใช้อุดรูลูกโหวดด้านล่างเพื่อเป็นเครื่องปรับระดับเสียงและขี้สูดอีกส่วนหนึ่งใช้ติดไว้ที่ตรงหัวของโหวดเพื่อกันกระแทกเวลาโหวดตกกระทบกันปัจจุบันใช้รองปากเวลาเป่าเพื่อหันโหวดไปมาได้สะดวก 4. โปงลาง หรือขอลอ จัดเป็นเครื่องตีชนิดหนึ่งมีลักษณะคล้ายระนาดส่วนประกอบที่สำคัญคือ ลูกโปงลางซึ่งเดิมมี 5-7 ลูกปัจจุบันนิยมทำเป็น 12 ลูก โปงลางทำด้วยไม้เนื้อแข็งนิยมใช้ไม้หมากเลื่อมและไม้หมากหวด มีขนาดใหญ่โปงลางจะมีเสียง 5 เสียงเท่านั้นเพราะเพลงพื้นบ้านอีสานใช้เพียง 5 เสียง เสียงสูงต่ำตามขนาดของไม้ใช้เชือกร้อยติดกันเป็นผืนนิยมแขวนด้านเสียงต่ำไว้ด้านบนเสียงสูงทอดเอียงลงเวลาตีใช้ผู้ตี 2 คน ๆ หนึ่งตีตามทำนองส่วนอีกคนหนึ่งตีเสียงประสาทหรือเสียงเสพ 5. พิณไห เป็นเครื่องดนตรีประเภทดีดทำจากไหซองหรือไหกระเทียมทำไหขนาดลดหลั่นตามที่ต้องการมา 3-7 ใบใช้ยางสติ๊กที่ตัดจากยางในรถจักรยานมาจึงไว้ที่ปากไหดีดให้จังหวะเป็นเสียงเสพเวลาเล่นใช้มือดึงเส้นยายนี้ให้สั่นเป็นเสียงทุ้มต่ำแต่ต่อมาผู้ดีดไหเป็นเพียงผู้มาทำท่าดีดแต่งตัวสวยงามมารำเพราะคนชอบดูความสวยงามของคนดีดไหมากกว่าที่จะฟังเสียงพิณไห เครื่องดนตรีไทยภาคเหนือ 1.

"พิณ" เครื่องดนตรีพื้นบ้านภาคอีสาน - อีสานร้อยแปด

2. ระจับปี่ 3. ิณน้ำเต้า 4. ะเข้

ภาษาอังกฤษ

ม.

เครื่องดนตรีไทย 4 ภาค | thaimusic by kru.thiwankran

เครื่องดนตรี ไทย พิณ ทอง

ดนตรีไทย...: เครื่องดีด

เครื่องดนตรีพื้นบ้านภาคอีสาน กระจับปี่, ไหซอง, จะเข้, หึน, ฆ้อง ฉิ่ง ฉาบ, กั๊บแก๊บ, แคน, พิณ, โปงลาง, โหวต, ซอ, กลอง, ปี่กู่แคน นอกจากนี้ ดนตรียังเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการฟ้อนซึ่งจะขาดเสียมิได้ เพราะดนตรีนอกจากจะให้การฟ้อนเกิดความพร้อมเพรียงกันแล้ว ดนตรียังเป็นแรงกระตุ้นสำคัญที่ทำให้ผู้ฟ้อนรู้สึกต้องการฟ้อนและฟ้อนอย่างมีความสุข ดนตรีที่ใช้ประกอบการฟ้อนมีตั้งแต่ดนตรีชิ้นเดียวอย่างเสียงกระทบของสาก เสียงกลอง จนถึงการผสมวงมีเครื่องดนตรีหลายๆ ชิ้นประกอบกัน ดนตรีอีสานแบ่งออกตามกลุ่มวัฒนธรรมดังนี้ วัฒนธรรมกลุ่มดนตรีอีสานเหนือ ประเภทเครื่องดีด เครื่องดนตรีประเภทใช้ดีด ได้แก่ 1. พิณพื้นเมือง ซึ่งมีชื่อเรียกแตกต่างกันออกไปเช่น ซุง ซึง หมากจับปี่ หมากตดโต่ง หมากตับเต่ง เป็นต้น พิณทำด้วยไม้ เช่น ไม้ขนุน เพราะมีน้ำหนักเบาและให้เสียงทุ้มกังวานไพเราะกว่าไม้ชนิดอื่น มีรูปร่างคล้ายกีตาร์แต่ฝีมือหยาบกว่า พิณอาจจะมี 2 สาย 3 สาย หรือ 4 สายก็ได้ โดยแบ่งออกเป็น 2 คู่ เป็นสายเอก 2 สาย และสายทุ้ม 2 สาย ดั้งเดิมใช้สายลวดเบรครถจักรยานเพราะคงทนและให้เสียงดังกว่าสายชนิดอื่น แต่ในปัจจุบันนิยมใช้สายกีตาร์แทน การขึ้นสายไม่มีระบบแน่นอน นมหรือขั้นที่ใช้นิ้วกดบังคับระดับเสียงจะไม่ฝังตายตัวเหมือนกีตาร์หรือแมนโดลิน การเล่นก็เล่นเป็นเพลงเรียกว่าลาย โดยมากพิณจะเล่นคู่กันกับแคน 2.

รายชื่อเครื่องดนตรี - วิกิพีเดีย

ปี่ผู้ไท เป็นปี่ที่ทำจากไม้กู่แคน โดยเอากู่แคนมาปล้องหนึ่งตัดโดยเปิดปลายข้างหนึ่ง และขังข้ออีกด้านหนึ่งตรงปลายด้านที่บั้งข้อเจาะช่องสำหรับใส่ลิ้นที่ทำด้วยทองเหลือง เจาะรูเยื่อ 1 รู และรูนับ 5 รู ปรับเสียงให้เท่ากับเสียงแคน ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดงการฟ้อนของอีสานเหนือดั้งเดิม จะใช้เครื่องดนตรีหลักเพียงชนิดใดชนิดหนึ่งชนิดเดียว เช่น ฟ้อนผีฟ้า ฟ้อนผีหมอ จะใช้แคน ฟ้อนกลองตุ้มจะใช้กลองตุ้มอย่างเดียว แต่ในการแสดงชุดที่ประดิษฐ์ขึ้นใหม่ในยุคหลังจะใช้ดนตรีลักษณะผสมวงหลายชิ้น เช่น พิณ แคน โปงลาง กลอง ฯลฯ ผสมกัน วัฒนธรรมกลุ่มดนตรีอีสานใต้ ซอกันตรึม ตรัว ซอกันตรึม พิณน้ำเต้า ตรัวอู้ ประเภทเครื่องดีด 1. พิณกระแสเดียวหรือ กระแสมุย แปลว่า พิณเสียงเดียวหรือพิณสายเดียว กระโหลกพิณทำด้วยลูกน้ำเต้าแก่จัดตากให้แห้งตัดครึ่งด้านขวางของผล แกะเมล็ดในและเยื่อออกให้หมด ใช้หวายขันชะเนาะกระโหลกน้ำเต้าให้ติดกับโคนของคันพิณลูกบิดอยู่ทางด้านโคน สุดของคันพิณขึงโยงด้วยสายโลหะ จากลูกบิดสอดหวายที่ขันชะเนาะอยู่ไปผูกกับปลายคันพิณ ตอนปลายสุดมีลักษณะงอนเป็นรูปพระยานาคชูหัว ซึ่งชาวไทยภาคกลางเรียกว่า พิณน้ำเต้า 2. จาเป่ย หรือ กระจับปี่ มีลักษระคล้าย ซึง มีสายคู่ซึ่งสายแต่ละคู่ตั้งเสียงให้เท่ากัน คันพิณทำด้วยไม้เนื้อแข็ง ส่วนกล่องเสียงจะทำด้วยไม้ขนุนหรือไม้สัก ที่ส่วนปลายสุดของคันพิณมีรู 4 รู เพื่อใส่ลูกบิดและร้อยสาย และที่คันพิณจะมีที่วางนิ้วซึ่งขัดไว้เป็นระยะๆ 3.

เครื่องดนตรีพื้นบ้านภาคอีสาน

  • นว นคร หา งาน
  • เครื่องดนตรี ไทย พิณ 9yin
  • ประวัติความเป็นมาของพิณ - chaitawat78789
ยาวประมาณ 52 ซม. และกว้างประมาณ 11. 5 ซม. ท่อนหัวและท่อนหางขุดเป็นโพรงตลอด รวมทั้งสิ้นมีความยาวประมาณ 130 – 132 ซม. ปิดใต้ทองด้วยแผ่นไม้ มีเท้ารองตอนหัว 4 เท้า และตอนปลายปางอีก 1 เท้า วัดจากปลายเท้าถึงตอนบนของตัวจะเข้ สูงประมาณ 19 ซม. ทำหลังนูนตรงกลางให้สองข้างลาดลง โยงสายจากตอนหัวไปทางตอนหางเป็น 3 สาย มีลูกบิดประจำสายละ 1 อัน สาย 1 ใช้เส้นลวดทองเหลือง อีก 2 สายใช้เส้นเอ็น มีหย่องรับสายอยู่ตรงปลายหางก่อนจะถึงลูกบิด ระหว่างตัวจะเข้มีแป้นไม้เรียกว่า นม รองรับสายติดไว้บนหลังจะเข้ รวมทั้งสิ้น 11 อัน เพื่อไว้เป็นที่สำหรับนิ้วกดนมแต่ละอันสูง เรียงลำดับขึ้นไป ตั้งแต่ 2 ซม. จนสูง 3. 5 ซม. เวลาบรรเลงใช้ดีดด้วยไม้ดีดกลมปลายแหลมทำด้วยงาช้างหรือกระดูกสัตว์ เคียนด้วยเส้นด้ายสำหรับพันติดกับปลายนิ้วชี้ข้างขวาของผู้ดีด และใช้นิ้วหัวแม่มือกับนิ้วกลางช่วยจับให้มีกำลัง เวลาแกว่งมือส่ายไปมา ให้สัมพันธ์ กับมือข้างซ้ายขณะกดสายด้วย ไม้ดีดควรยาวประมาณ 7-8เซนติเมตร มีสายยาวประมาณ 45 เซนติเมตร 1. วิธีการนั่งบรรเลงจะเข้ ให้นั่งพับเพียบ ตัวตรง โดยด้านกระพุ้งอยู่ด้านซ้ายมือของผู้บรรเลง และด้านลูกบิด อยู่ด้านขวามือของผู้บรรเลง มือซ้ายใช้สำหรับกดนมจะเข้ และมือขวาใช้สำหรับพันไม้ดีด และดีดสายจะเข้ ดังต่อไปนี้ 2.
  1. พื้น หลัง ห้อง
  2. วิธี จับ พังพอน
  3. วิธี ผัด ดอก หอม
  4. วังเดียวดาย รีวิว
  5. โรงเรียนเอกชนในนนทบุรี
  6. ยาง wolverine 245 45r18 96v
  7. ทำความ สะอาด แอ น ด รอย
  8. The primary prestige ราคา inc
  9. ชานม สยาม